Recent Articles

บทความล่าสุด


10 เหตุผลที่คุณควรลอง Manjaro Linux ในปี 2020

Linux

10 เหตุผลที่คุณควรลอง Manjaro Linux ในปี 2020

ทำไมถึงควรลองในปี 2020 นั่นก็เพราะผมเคยลองใช้งานหลายปีและรู้สึกว่ามันยังไม่ลงตัวในหลายๆ อย่างมาก ทั้งไม่รองรับ Hardware หลายๆเครื่อง มี DE จากทาง Official น้อย และอื่นๆบลาๆ และในตอนนี้เขาพัฒนาไปไวมาก จนทำให้ผมได้กลับมาลองใช้อีกครั้ง จนตอนนี้ผมใช้ Manjaro กับเครื่องหลักกันเลยทีเดียว เรามาดูสาเหตุกันว่ามันมีอะไรน่าสนใจ และถึงน่าใช้ขนาดนี้

มากกว่า 4 ปีที่ผ่านมา

ส่อง Ubuntu 20.04 มีอะไรน่าสนใจบ้าง

Linux

ส่อง Ubuntu 20.04 มีอะไรน่าสนใจบ้าง

สวัสดีครับทุกท่านที่ติดตามบทความผม วันนี้ผมจะมาแนะนำโปรแกรมที่ใช้สำหรับการโคลนไดรว์ หรือ Copy Drive หรือ ที่เราคุ้นเคยโปแกรมใน Windows ก็แค่โปรแกรม Ghost เพราะการปกป้องข้อมูลไม่เพียงเป็นการปกป้องจากแฮกเกอร์และแครกเกอร์ที่มีมากขึ้นเรื่อยๆ ในทุกวันนี้ แต่ในความเป็นจริงหนึ่งในกฎพื้นฐานของการปกป้องข้อมูลในระบบของคุณ เพื่อให้แน่ใจว่าคุณมีการสำรองข้อมูลเพียงพอของฮาร์ดดิสก์ เอาหล่ะเรามาดูทั้ง 6 โปรแกรมกันเลยครับ

มากกว่า 4 ปีที่ผ่านมา

สุดยอด Desktop Environments น่าใช้ สำหรับ Linux

Linux

สุดยอด Desktop Environments น่าใช้ สำหรับ Linux

DE หรือ Desktop Environments เป็นสิ่งสำคัญในการใช้ลินุกซ์ เพราะคือตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้อย่างเราๆ กับ Linux เพราะถ้าไม่มี Desktop Environments เวลาเราใช้งาน Linux ก็คงต้องพิมพ์คำสั่งเอา ซึ่ง DE ใน Linux ก็มีอยู่หลายตัวให้ใช้งาน แต่ละตัวก็มีข้อดี ข้อด้อยแตกต่างกันออกไป ก็อยู่ที่เราแล้ว ว่าชอบตัวไหน ในปี 2020 นี้ก็ขอไว้อาลัยกับการจากไปของ Unity ไว้ ณ ที่นี้ด้วย เราจะคิดถึงนาย Unity เอาหละเรามาดูกันดีกว่าว่า ในปี 2020 นี้ ยังมี DE ตัวไหนที่ยังมีชีวิต และยังเป็นที่น่าสนใจบ้าง

มากกว่า 4 ปีที่ผ่านมา

ดู Traffic บน Linux ง่ายๆ แค่ใช้ nload

Linux

ดู Traffic บน Linux ง่ายๆ แค่ใช้ nload

โปรแกรมดู Traffic การใช้งานการอินเทอร์เน็ตบนลินุกซ์นี่มันช่างหายากซะจริงๆ เทียบกับฝั่ง Windows แล้ว แลดูเยอะมาก ทั้งฟรีและเสียตัง ใช้งานยากง่ายปะปนกันไป กลับมาฝั่งลินุกซ์กันต่อ ก็ยังหาใช้งานยากอยู่ดี จนนึกขึ้นได้ว่าจุดเด่นของมันก็คือการใช้งานทุกอย่างผ่าน Terminal นั่นเอง แล้วทำไมไม่หาโปรแกรมดู Traffic ที่ใช้งานผ่าน Terminal ได้ละ จึงได้ค้นดู ปรากฏว่ามีให้เลือกเยอะมาก และตอนนี้ผมจะยกมาสักตัวที่ผมรู้สึกว่า ติดตั้งง่าย ดูง่าย ใช้งานง่าย ขนาดไฟล์เล็กนิดเดียว นั่นก็คือ nload นั่นเอง

มากกว่า 4 ปีที่ผ่านมา

4 โปรแกรมท่องเว็บบน Terminal

Linux

4 โปรแกรมท่องเว็บบน Terminal

ส่วนตัวแล้ว ผมใช้ Sound Card ของ Creative Blaster X-Fi Titanium ด้วยเหตุผลก็เพราะไม่อาจจะทนฟังเสียงจาก Onboard ได้ ในทุกๆ วันก็สามารถใช้งานได้ปกติ ทั้งดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกมอะไรเทือกนั้น และด้วยความที่ชอบลอง Linux Distro อื่นๆ ไปเรื่อยๆ แต่สาย Arch นะ ถึงได้เจอกับปัญหาอย่างหนึ่ง คือ เวลาที่ผมเข้าเล่นเกมดังอย่าง DOTA2 มันมีเสียงซ่าๆ เวลาเข้าเกม คล้ายๆ เหมือนมีอะไรช็อต ตอนนั้นตกใจนึกว่า Sound Card ลาโลกไปซะแล้ว ทดลองเปิดเพลงใน Youtube Spotify ก็ปกตินี่หว่า หรือเป็นกับตัวเกมหรือเปล่า ก็ไม่น่าจะใช่ จนหาวิธีอยู่นาน วิธีการแก้ปัญหานั้นก็แสนจะง่ายดาย เพียงแค่เข้าไปแก้อะไรนิดหน่อยก็ได้ละ

มากกว่า 4 ปีที่ผ่านมา

มาใช้ Google Noto Font กันเถอะ

Fonts

มาใช้ Google Noto Font กันเถอะ

Google Noto Fonts เป็นฟอนต์ฟรีที่ทาง Google ได้เปิดให้ใช้งานฟรี ซึ่งจะประกอบไปด้วยหลากหลายภาษาทั่วทุกมุมโลก และแน่นอนรวมถึงภาษาไทยด้วย ซึ่งโปรเจคนี้ผมก็เห็นมานานแล้วแหละ แต่เพราะตอนนั้นฟอนต์ภาษาไทยยังง่อยมาก มันไม่มีความสวยงามตามยุคสมัยเอาซะเลย ผมก็เลยเมินมัน จนปัจจุบัน มันถูกพัฒนาขึ้นมามาก ทำให้ผมต้องกลับมามองอีกครั้ง ดูเธอสิ ช่างสวยงามยิ่งนัก

เกือบ 5 ปีที่ผ่านมา

ส่งหน้าจอ Android ไปยัง Linux ง่ายๆ ด้วย Scrcpy

Linux

ส่งหน้าจอ Android ไปยัง Linux ง่ายๆ ด้วย Scrcpy

วันก่อนผมต้องสาธิตการใช้งานแอพ แอพนึงให้กับพนักงาน ผมก็คิดอยู่นานว่าจะใช้วิธีไหน เพื่อที่จะให้ง่ายและเข้าใจมากที่สุด ซึ่งวันนั้นวิธีที่ผมใช้ก็คือ ใช้ Anydesk Remote จาก Notebook เข้าไปยัง Smart Phone อีกที Projector ผม Screen Mirron จาก Smart Phone ตรงๆ ไม่ได้นะ แล้วเอา Projector มาต่อกับ Notebook อีกที ซึ่งผลที่ออกมาก็พอใช้ได้ มีความหน่วงนิดนึง แต่ภาพยังไม่ค่อยสวย สรุปวันนั้นผลออกมายังไม่ค่อยน่าประทับใจสักเท่าไหร่ จนผมมาเจอ Scrcpy จากที่ได้ลองรู้สึกว่าภาพสวยและลื่นไหลดีเลย แถมไม่ต้อง Root ด้วย เอาหละ เรามาเริ่มติดตั้งและลองใช้กันเลยดีกว่า

เกือบ 5 ปีที่ผ่านมา

แจก 12 ฟอนต์ไทย คัดสรรดีมาก

Fonts

แจก 12 ฟอนต์ไทย คัดสรรดีมาก

คัดสรร ดีมาก Cadson Demak องค์กรเอกชนสัญชาติไทยที่ประดิษฐ์แบบอักษรให้กับแบรนด์ต่างๆ ซึ่งตอนนี้ได้ทำโปรเจกต์ทำฟอนต์ไทย 12 ชุดลงบนเสร็จเรียบร้อย เพื่อให้นักพัฒนาเว็บไซต์นำไปปรับใช้กับเว็บของตนได้ทันที ไม่ต้องอัพโหลดฟอนต์ขึ้นโฮสต์ตัวเองแล้ว สามารถใช้สคริปต์ @font-face ได้เลย หรือใครอยากโหลดฟอนต์มาใช้งาน ก็สามารถทำได้

เกือบ 5 ปีที่ผ่านมา

ยัด Linux ลง Flash Drive ง่ายๆ เพียงคำสั่งเดียว

Linux

ยัด Linux ลง Flash Drive ง่ายๆ เพียงคำสั่งเดียว

การทำ Boot OS ต่างๆ ใส่ USB Drive คงไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่สำหรับยุคนี้ ซึ่ง OS ไหนก็สามารถทำได้ วิธีการก็ล้วนแตกต่างกันไป แน่นอนว่าผมย้ายมาจาก Windows ซึ่งโปรแกรมทำ Boot USB พวกนี้ ล้วนแต่เป็นโปรแกรมแบบ GUI ทั้งนั้น พอผมได้มาใช้ Linux โชคดีที่ Ubuntu มีโปรแกรมพวกนี้มาเลยทำให้ไม่ต้องหามาติดตั้งเพิ่ม แล้วถ้าผมไม่ได้ใช้ Ubuntu ละ บาง Distro ก็ไม่มามีให้ ก็ต้องหามาติดตั้งเพิ่ม บางทีผมอาจจะยึดติดกับโปรแกรมแบบ GUI มากจนเกินไป จนบางทีลืมคิดไปว่า จุดเด่นของ Linux ก็คือสามารถสั่งให้ทำอะไรก็ได้ผ่าน Terminal ได้เลย จะเห็นว่าหลายๆ บทความที่ผ่านมา ผมค่อนข้างที่จะแนะนำโปรแกรมต่างๆ และโปรแกรมพวกนั้นล้วนใช้งานบน Terminal ทั้งนั้น เหตุก็เพราะ โปรแกรมที่เป็น GUI บน Linux ใช้งานได้ไม่ค่อยดี ต่างจากโปรแกรมที่ทำงานบน Terminal ที่ทำงานได้ดีกว่า และเร็วกว่ามากๆ จึงเป็นที่มาของบทความนี้ ซึ่งวิธีการนี้ ผมใช้มาสักพักละ ผลคือมันใช้ได้ค่อนข้างดีเลยทีเดียว และคิดว่าน่าจะใช้ได้ทุก Distro

มากกว่า 5 ปีที่ผ่านมา